Skip to main content

Posts

ข้อสอบPAT
Recent posts
ข้อสอบO-net 1.)  สารละลาย  X,Y  และ  Z  ต่างเป็นสารละลายใสที่ไม่มีสีเมื่อนำแต่ละชนิดที่มีควมเข้มข้นและปริมาณเท่ากัน มาผสมกันที่อุณภูมิเป็น  25 o C  ได้ผลดังตาราง การผสมสารละลาย อุณภูมิหลังผสม สิ่งที่สังเกตุเห็น X  กับ  Y 24 สารละลายสีฟ้า X  กับ  Z 25 ใส ไม่มีสี      1.        X  กับ  Y  เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน      2.        Y  กับ  Z  เกิดสารละลายชนิดเดียวกัน      3.        Y  กับ  Z  ทำปฏิกิริยากันโดยไม่คายความร้อน      4.        Y  กับ  Z  เป็นสารละลายต่างชนิดที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน ตอบ   1  เพราะ อุณหภูมิต่ำลงเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน 2.)  ไฮดรเจนเป็นแก๊สที่เบาที่สุด ใช้ทำให้บอลลูนลอยตัวขึ้นในอากาศได้ แต่ในทางปฏิบัติจะใช้แก๊ส ฮีเลียมซึ่งหนักกว่า เพราะเหตุผลหลักตามข้อใด       1.      แก๊สไฮโดรเจนติดไฟได้ง่าย       2.      แก๊สไฮโดรเจนมีราคาแพงกว่าฮีเลียม       3.      ต้องในแก๊สไฮโดรเจนปริมาณมากกว่าการใช้ฮีเลียม       4.      ฮีเลียมแยกได้จากธรรมชาติ แต่แก๊สไฮโดรเจนต้องผ่านกระบวนการผลิต ตอบ   1 3.) ธาตุ  3  ชนิดมีสัญลั
ความปลอดภัยในการปฏิบัติการเคมี 1.1ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี          การทําปฏิบัติการเคมีส่วนใหญ่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับสารเคมี อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งผู้ทําปฏิบัติการต้องตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม โดยผู้ทําปฏิบัติการ ควรทราบเกี่ยวกับประเภทของสารเคมีที่ใช้ ข้อควรปฏิบัติในการทําปฏิบัติการเคมี และการกําจัด สารเคมีที่ใช้แล้วหลังเสร็จสิ้นปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถทําปฏิบัติการเคมีได้อย่างปลอดภัย   1.1.1 ประเภทของสารเคมี            สารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน สารเคมีจึงจําเป็นต้องมีฉลากที่มี ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตรายของสารเคมีเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ การนําไปใช้ และการ กําจัด โดยฉลากของสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการควรมีข้อมูล ดังนี้   1. ชื่อผลิตภัณฑ์   2. รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี  3. คําเตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย และข้อควรระวัง   4. ข้อมูลของบริษัทผู้ผลิตสารเคมี                                                      ตัวอย่างของฉลาก แสดงดังรูป 1.1 บนฉลากบรรจุภัณฑ์มีสัญลักษณ์แสดงความเป็นอ