Skip to main content

ข้อสอบO-net





1.) สารละลาย X,Y และ ต่างเป็นสารละลายใสที่ไม่มีสีเมื่อนำแต่ละชนิดที่มีควมเข้มข้นและปริมาณเท่ากัน มาผสมกันที่อุณภูมิเป็น 25oได้ผลดังตาราง

การผสมสารละลาย
อุณภูมิหลังผสม
สิ่งที่สังเกตุเห็น
กับ Y
24
สารละลายสีฟ้า
กับ Z
25
ใส ไม่มีสี
     1.      กับ เกิดปฏิกิริยาคายความร้อน
     2.      กับ เกิดสารละลายชนิดเดียวกัน
     3.      กับ ทำปฏิกิริยากันโดยไม่คายความร้อน
     4.      กับ เป็นสารละลายต่างชนิดที่ไม่ทำปฏิกิริยากัน
ตอบ เพราะ อุณหภูมิต่ำลงเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน

2.) ไฮดรเจนเป็นแก๊สที่เบาที่สุด ใช้ทำให้บอลลูนลอยตัวขึ้นในอากาศได้ แต่ในทางปฏิบัติจะใช้แก๊ส

ฮีเลียมซึ่งหนักกว่า เพราะเหตุผลหลักตามข้อใด
      1.    แก๊สไฮโดรเจนติดไฟได้ง่าย
      2.    แก๊สไฮโดรเจนมีราคาแพงกว่าฮีเลียม
      3.    ต้องในแก๊สไฮโดรเจนปริมาณมากกว่าการใช้ฮีเลียม
      4.    ฮีเลียมแยกได้จากธรรมชาติ แต่แก๊สไฮโดรเจนต้องผ่านกระบวนการผลิต
ตอบ 1

3.)ธาตุ ชนิดมีสัญลักษณ์ดังนี้

ข้อใดเป็นสูตรเคมีของสารประกอบฟลูออไรด์ของธาตุทั้งสามชนิดตามลำดับ
    1.       AF    BF3    CF2
    2.       AF    B2F3   CF2
    3.       AF2    B2F3   CF
    4.       AF2  Bf3      CF
ตอบ เมื่อจัดเรียงอิเล็กตรอนแล้วจะได้ดังนี้

4) ไอออนของธาตุ มีจำนวนโปรตอน นิวตรอน และอีเล็กตรอน เท่ากับ 9,10,10 ตามลำดีบ ธาตุ มีสัญลักษณ์เป็นไปตามข้อใด
1.
2.

3.

4.

ตอบ  1. เพราะมีโปรตอน แสดงว่าเลขข้างล่าง คือ นิวตรอน 1o แสดงว่า เลขบน-เลขล่าง คือ 10

5.) ข้อใดระบุชนิดของแก๊สและกรดที่เกิดจากการนำแก๊สนั้นไปละลายในน้ำได้ถูกต้อง
     1.    อีเทน กรดน้ำส้ม
     2.    คลอนรีน กรดเกลือ
     3.    ไนโตรเจน กรดไนตริก
     4.    ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ กรดซัลฟิวริก
ตอบ 2 CI2+H2O----------->HCIO(กรดไฮโปคลอรัส)+CHI(กรดเกลือ/กรดไฮโดรคลอริก)


6.) การทดสอบสาร ก สาร ข สาร ค และสาร ง ได้ผลดังนี้

สาร ก สาร ข สาร ค สาร ง ควรเป็นสารใดตามข้อใดตามลำดับ
      1.    แป้งข้าวโพด    น้ำเชื่อม              ใยไหม              กลูโคส
      2.    แป้งผัดหน้า      ฟรักโทส             ใยสำลี              น้ำตาลทราย
      3.    แป้งข้าวเจ้า      น้ำตาลทราบ      ใยบวบ              ฟรักโทศ
      4.    แป้งสาลี            แอสพาร์แทม     ในแมงมุม         กลูโคล
ตอบ ก แป้ง ข น้ำตาลทราย ค เส้นใยพืช (ไหมเป็นเส้นใยสัตว์ ซึ่งถือเป็นเส้นใยโปรตีนง น้ำตาลอะไรก็ได้ที่ไม่ใช้น้ำตาลทราย

7.) สารบริสุทธ์ของธาตุ ในข้อ 69 มีสูตรโมเลกุลตามข้อใด
1.F1
2.CI2
3.N2
4.O2
ตอบ เมื่อจัดเรียงอิเล็กตนอนแล้วจะได้ 2 7 คือ หมู่ คาบ นั้นคือ ซึ่งอยู่ในรูปของ Diatomic molecule

8.) กำหนดโครงสร้างของกรดอะมิโน A,B และ C

ข้อความใดถูกต้อง
      1.    เพปไทด์ที่ประกอบด้วยกรดอมิโนทั้ง ชนิด ข้างต้นโดยไม่มีกรดที่ซ้ำกันมีทั้งหมด ชนิด
      2.    เพปไทด์ที่เกิดจากกรด และกรด ทำปฏิกิริยากับ CuSO4 ในสภาวะเบสให้สารสีม่วง
      3.    เพปไทด์ที่เกิดจากกรด กรด และกรด เป็น ไตรเพปไทด์ที่มีจำนวนพันธะเพปไทด์ พันธะ
      4.    ในร่างกายมนุษย์จะไม่พบโปรตีนที่มีกรดอะมิโน และ เป็นองค์ประกอบ
       ตอบ ไม่มีคำตอบ
ข้อ จะเปิด ชนิด
            2 การทดสอบโปรตีนทดสอบด้วย CuSO4 ในเบส ให้สารสีน้ำเงินม่วงซึ่งเป็นสารประกอบเชิงซ้อนระหว่างทองแดงกับ สารที่มีพันธะเพปไทด์ พันธะขึ้นไป


9.) เมื่อนำสาร มาเผาในบรรยากาศออกซิเจน O2(g) จะได้ไอน้ำ H2O(g) และแก๊สคาร์บอนไอออกไซด์CO2(g)
     1.    แก๊สไฮโดรเจน
     2.    แก๊สโซฮอล์
     3.    แก๊สบิวแทน
     4.    แก๊สธรรมชาติ
ตอบ เพราะ จะเผาไหม้ได้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน้ำได้ต้องเป็นสารอินทรีย์ และเกิดการเผาไหม้แบบเผาไหม้สมบูรณ์
ปล
ข้อ แก๊สโซฮอล์ คือ เอทานอล น้ำมันเบนซิน 
ข้อ แก๊สธรรมชาติ หมายถึง แก๊สมีเทน


10.) ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกบสมบัติของธาตุ ในข้อ 69
1. สาร มีสถานะเป็นแก๊ส
2. ไอออนที่เสถียรของธาตุ X มีประจุ -1
3. ธาตุ พบได้บางส่วนของร่างกายคน
4. ธาตุ กับธาตุ Ca เกิดเป็นสารประกอบที่มีสูตรเป็น CaX
ตอบ เพราะ ข้อ 1 2 ถูก ฟลูออรีนอยู่ในสถานะแก๊ส ไอออนมีประจุ -1 ซึ่งเมื่อเกิดสารประกอบกับ CA ซึ่งเป็นโลหะ
หมู่ 2จะมีสูตรเป็น CAx2

Comments

Popular posts from this blog

ความปลอดภัยในการปฏิบัติการเคมี 1.1ความปลอดภัยในการทำงานกับสารเคมี          การทําปฏิบัติการเคมีส่วนใหญ่ต้องมีความเกี่ยวข้องกับสารเคมี อุปกรณ์และเครื่องมือต่าง ๆ ซึ่งผู้ทําปฏิบัติการต้องตระหนักถึงความปลอดภัยของตนเอง ผู้อื่น และสิ่งแวดล้อม โดยผู้ทําปฏิบัติการ ควรทราบเกี่ยวกับประเภทของสารเคมีที่ใช้ ข้อควรปฏิบัติในการทําปฏิบัติการเคมี และการกําจัด สารเคมีที่ใช้แล้วหลังเสร็จสิ้นปฏิบัติการ เพื่อให้สามารถทําปฏิบัติการเคมีได้อย่างปลอดภัย   1.1.1 ประเภทของสารเคมี            สารเคมีมีหลายประเภท แต่ละประเภทมีสมบัติแตกต่างกัน สารเคมีจึงจําเป็นต้องมีฉลากที่มี ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นอันตรายของสารเคมีเพื่อความปลอดภัยในการจัดเก็บ การนําไปใช้ และการ กําจัด โดยฉลากของสารเคมีที่ใช้ในห้องปฏิบัติการควรมีข้อมูล ดังนี้   1. ชื่อผลิตภัณฑ์   2. รูปสัญลักษณ์ แสดงความเป็นอันตรายของสารเคมี  3. คําเตือน ข้อมูลความเป็นอันตราย และข้อควรระวัง   4. ข้อมูลของบริษัทผู้ผลิตสารเคมี                                                      ตัวอย่างของฉลาก แสดงดังรูป 1.1 บนฉลากบรรจุภัณฑ์มีสัญลักษณ์แสดงความเป็นอ
7. ตรวจสอบแล้ว! สารเคมี ใน ซ.พหลฯ24 เป็น อีลีเดียม 192 เจ้าหน้าที่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติเข้าตรวจสอบถังสารเคมีที่พบในซอยพหลโยธิน 24 แยก 2-1 ไม่ใช่กัมมันตรังสี ชนิดโคบอลต์60  แต่เป็นสารอีลีเดียม 192 ไม่พบการรั่วไหล คืบหน้าล่าสุดเจ้าหน้าที่สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ ยืนยันสารเคมีที่พบไม่ใช่โคบอล์ต 60 ไม่มีการรั่วไหล ระบุเป็นอีลีเดียม 192 ใช้ตรวจรอยเชื่อมในภาคอุตฯ ระดับรังสีหมดลงแล้ว พร้อมระบุว่าแม้ตรวจจสอบพบว่าอุปกรณ์ชิ้นนี้จะใช้งานและระดับรังสีหมดไปแล้ว ก็จะเคลื่อนย้ายไปไว้ที่สำนักงานเพื่อให้ประชาชนมั่นใจ โดยเจ้าหน้าที่จากสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ กล่าวเพิ่มเติมว่า จากนี้สามารถตรวจสอบได้ว่าบริษัทใดเป็นผู้นำเข้าอุปกรณ์ชิ้นนี้ การนำมาทิ้งไว้เป็นการกระทำที่ผิดกฎหมาย ซึ่งทางเจ้าหน้าที่ตำรวจจะทำการสอบสวนต่อไปเพื่อดำเนินคดีกับผู้กระทำผิด ส่วนใครที่พบเจอวัตถุต้องสงสัยที่มีสัญลักษณ์เกี่ยวกับรังสี สามารถแจ้งได้ที่ 089-200-6243 ได้ตลอด 24 ชม. ด่วน!!  สารเคมีรั่วไหล  ย่านพหลโยธิน 24 ขณะที่เจ้าหน้าที่ปรมณูเพื่อสันติเร่งตรวจสอบ – สั่งอพยพคน เมื่อเวลาประมาณ 15.20 น. ที่ผ่านมา เ

อะตอมและสมบัติของธาตุ

อะตอมและสมบัติของธาตุ 1. แบบจำลองอะตอมของดอลตัน สสารทุกชนิดประกอบด้วยอนุภาคที่เล็กที่สุดเรียกว่า อะตอม ซึ่งไม่สามารถแบ่งแยกต่อไปได้อีก 2. แบบจำลองอะตอมของทอมสัน - ค้นพบอิเล็กตรอน ที่ มีประจุไฟฟ้าลบ มีมวลประมาณ 1/2000 ของมวลของ H - โดยศึกษาพฤติกรรมของ หลอดรังสีแคโทด ในสนามแม่เหล็กไฟฟ้า 3. แบบจำลองของรัทเทอร์ฟอร์ด การกระเจิง ( scattering) ของอนุภาค a โดยแผ่นทองคำบางๆ รัทเทอร์ฟอร์ดพบว่ารังสีส่วนใหญ่ไม่เบี่ยงเบน และส่วนน้อยที่เบี่ยงเบนนั้น ทำมุมเบี่ยงเบนใหญ่มาก บางส่วนยังเบี่ยงเบนกลับทิศทางเดิมด้วย จำนวนรังสีที่เบี่ยงเบนจะมากขึ้นถ้าความหนาแน่นของแผ่นโลหะเพิ่มขึ้น อนุภาคมูลฐาน อนุภาค ประจุ(หน่วย) ประจุ( C) มวล( g) มวล( amu) อิเล็กตรอน -1 1.6 x 10-19 0.000549 9.1096 x 10-28 โปรตรอน +1 1.6 x 10-19 1.007277 1.6726 x 10-24 นิวตรอน 0 0 1.0